วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6



บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
อังคารเช้า พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.


กิจกรรมกังหันสัมพันธ์




ผลงานของเพื่อนๆในห้อง



วิธีการทำ

1.อาจารย์แจกกระดาษหนังสือคนละหนึ่งแผ่น
2.พับกระดาษแบ่งครั้งให้เท่ากัน
3.วาดรูปที่มันมีความสัมพันธ์กันเช่น ก้อนเมฆกับพระอาทิตย์วาดทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
4.ตกแต่งระบายสีให้สวยงาม
5.นำไม้เสียบลูกชิ้นมาวางไว้ตรงกลางกระดาษติดด้วยเทปใส
6.นำเทปใสมาติดตรงปลายกระดาษเพื่อให้กระดาษปะกบกันได้

อุปกรณ์

1.กระดาษสี
2.ไม้เสียบลูกชิ้น
3.กาว , เทปใส
4.สีเมจิ , สีไม้


กิจกรรมส่องกล้องจากแกนกระดาษทิชชู่



  จากกิจกรรมนี้ได้ต่อเนื่องจากกิจกรรมความลับของแสงที่อาจารย์ได้ให
 นักศึกษาดูวีดีโอแล้วนำมาบันทึกในกิจกรรมครั้งที่ 5 จากที่ส่องกล้องมีทั้ง
  หมด4 สีคือสีแดง สีเขียว สีเหลือง สีน้ำเงิน

เฟรดริค วิสเฮม เฟรอเบล ผู้นำการศึกษาอนุบาล
ที่ได้รับขนานนามว่าเป็น “บิดาการศึกษาปฐมวัย” ด้วยการพัฒนาโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกขึ้นในประเทศเยอรมนีในปี ค.ศ. 1837 เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยให้เป็นไปอย่างมีรูปแบบ กำหนดให้มีการวางแผนการสอน มีหลักสูตรสำหรับการศึกษาปฐมวัย มีการฝึกหัดครู รวมถึงการพัฒนาการสอนเด็กปฐมวัยด้วยการผลิตอุปกรณ์การสอน ที่เรียกว่า ชุดอุปกรณ์ และการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กปฐมวัยที่เรียกว่า การงานอาชีพ
เฟรอเบลเชื่อว่าเด็กมีความสามารถในสิ่งดีงาม มาตั้งแต่เกิด เด็กปฐมวัยควรจะเรียนรู้ด้วยการเล่น การแสดงออกอย่างอิสระ เด็กควรได้รับประสบการณ์จากการเรียนรู้ทั้งนอกชั้นและในชั้นเรียนโดยเฉพาะประสบการณ์ที่ได้มาจากการเล่น ด้วยเหตุผลนี้เฟรอเบลจึงใช้พื้นฐานความพร้อมของเด็กในการเรียน พัฒนาการตามช่วงอายุ ธรรมชาติของเด็กและเหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่เฟรอเบลมีความสนใจมาจัดทำเป็นชุดของเล่นและกิจกรรมสำหรับเด็กที่สอดคล้องกับวัยของเด็กโดยเรียกชื่อว่า ชุดอุปกรณ์ (Gifts) และการงานอาชีพ (Occupations)
ชุดอุปกรณ์ หมายถึง อุปกรณ์สำหรับเด็กใช้เล่นเพื่อการเรียน ตามแนวการสอนของครู เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับรูปร่าง ขนาด สี และมโนทัศน์ที่เกี่ยวกับการวัด นับ การจำแนก และเปรียบเทียบ ชุดอุปกรณ์นี้ประกอบด้วยวัสดุสัมผัสได้จำนวน 10 ชุด
การงานอาชีพ หมายถึง กิจกรรมที่ออกแบบมาใช้ในการพัฒนาทักษะต่างๆ เช่น ปั้นดิน การตัด ร้อยลูกปัด การทำขนม การพับ เป็นต้น
เฟรอเบลเปรียบเทียบการสอนเด็กว่าเหมือนกับการเพาะเมล็ดพืชที่ผู้ปลูกต้องดูแลให้เม็ดงอกงามขึ้นเป็นต้นแตกกิ่งใบและดอกผลที่สมบรูณ์ เช่นกับการพัฒนาเด็กที่ดีต้องสอดคล้องผสมผสานกลมกลืนไปกับธรรมชาติของเด็ก ให้เด็กได้เรียนรู้จากง่ายไปยาก ตามความสนใจของเด็กโดยครูต้องมีแผนการสอนที่สอดคล้องกับวัย พัฒนาการและความพร้อมของเด็กในการเรียน เปิดโอกาสให้เด็กลงเล่นมือชุดอุปกรณ์อย่างอิสระ รวมถึงครูต้องประเมินพัฒนาการของเด็กโดยการสังเกตจากการทำกิจกรรมประจำวัน ในการจัดการเรียนการสอนนี้ ตารางกิจกรรมประจำวันมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งเฟรอเบลเป็นผู้พัฒนาตารางกิจกรรมประจำวันขึ้น เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาที่ครอบคลุมทั้ง 4 ด้านคือ ร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา แนวคิดตารางกิจกรรมประจำวันนี้จึงได้นำมาใช้ในการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน ดังนั้นการนำตารางกิจกรรมประจำวันมาใช้ สิ่งที่ครูต้องคำนึงถึงคือ “การบูรณาการ” ครูอาจผสมผสานกิจกรรมต่างๆเข้ากับการเรียนด้วยการเล่นอย่างมีความสุขนั้นก็ คือ หัวใจการศึกษาปฐมวัย

ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถกต้องเรียบร้อย ตั้งใจทำกิจกรรมความ
สัมพันธ์มากเพราะชอบเรียนปฎิบัติมาก

ประเมินเพื่อน

 เพื่อนคุยกันตอนอาจารย์เปิดเพลงทำให้ไม่ค่อยเข้าใจเนื้อหา แต่งช่วงทำกิจกรรมที่ต้องปฎิบัติ
เพื่อนให้ความสนใจมาก

ประเมินอาจารย์  

อาจารย์เตรียมเนื้อหาการสอนมาดีมาก อาจารย์จะใช้วิธีการตั้งคำถามแล้วกระตุ้นให้นักศึกษาสนใจกับเนื้อหาที่้ตรียมมา




บันทึกการเรียนครั้งที่ 5



บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
อังคารเช้า พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.

กิจกรรมวันนี้

     อาจารย์เปิดเพลงให้ฟังเกี่ยวกับเพลง วิทยาศาสตร์ พอเพลงจบ 
อาจารย์ได้ถามเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นว่าเกิดขึ้นเพราะอะไรเพราะนักศึก
   ษาไม่ได้ตั้งใจฟัง ทำให้ฟังเพลงไม่รู้เรื่อง เสียงที่คุยกันดังกว่าเสียงเพลงที่

   อาจารย์เปิดทำให้นักศึกษาไม่เข้าใจเนื้อหาของเพลงไม่เข้าใจเพลงที่อาจารย์
   เปิดสิ่งที่เกิดขึ้นไม่เกิดประโยชน์ต่อนักศึกษาเพราะทำให้นักศึกษาไม่เข้าใจ
   ควรปรับปรุงแก้ไขคือควรตั้งใจฟังเพลงให้จบ แล้วจับใจความเนื้อหาของเพลง
   ว่าอาจารย์ต้องการจะสื่ออะไรกับนักศึกษาแล้วนำมาตอบคำถามในห้องเรียน


บทความของเพื่อน

 1.การสอนเรื่องปรากฎการณ์ธรรมมีความสำคัญอย่างไร ?
 2.วิทยาศาสตร์กับเด็กปฐมวัย

ทักษะที่ได้รับ

- การเรียงลำดับ
- การจำแนก
- การสังเกต

สาระที่เด็กควรเรียนรู้

- เรื่องราวเกี่ยวกับคนและสถานที่และสิ่งแวดล้อม
- ธรรมชาติรอบตัว
- สิ่งต่างๆรอบตัวเรา

สรุป ความลับของแสง < The Secret of Light >

   แสงมีความสำคัญกับตัวเรามากเพราะแสงช่วยให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆ ซึ่งจะเป็นคลื่นชนิดหนึ่งที่สั้นและยาว แสงยังเคลื่อนที่ได้เร็วถึง 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที ถ้าวิ่งได้เร็วเท่าแสงจะวิ่งได้ 7 รอบต่อวินาทีแสงยังช่วยในการมองเห็นของรอบตัวเราได้เพราะแสงส่องสว่างลงมากระทบวัตถุหนึ่งต่อวัตถุหนึ่งทำให้เรามองเห็นสิ่งของได้

 การเคลื่อนที่ 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที วิ่งรอบโลก 7 รอบต่อวินาที

ประเภทของวัตถุ

- วัตถุโปร่งแสง < Translocent objects>
- วัตถุโปร่งใส  < Transparent objects>
- วัตถุทึบแสง  < Opaque objects>

คุณสมบัติ

- การหักเหของแสง
- การเดินทางของแสงเป็นเส้นตรง
- การสะท้อนของแสง

ประโยชน์

 - กล้องส่องทางไกล , ทำกล้องฉาพภาพ
 -  ทำให้มองเห็นสิ่งรอบตัวได้ชัดขึ้น
-  ขยายภาพ การจุดไฟ


ประเมินตนเอง
  คุยกันในห้องทำให้อาจารย์สร้างสถานการณ์ขึ้นมา ไม่ค่อยตั้งใจฟังเพลงที่อาจารย์เปิดแต่ตั้งใจฟังเพื่อนอ่านบทความ

ประเมินเพื่อน
 เพื่อนคุยกันในขณะที่อาจารย์เปิดเพลง ทำให้อาจารย์สร้างสถานการณ์ขึ้นมาแต่เพื่อนบางกลุ่มก็ตั้งใจฟังเพลงฟังอาจารย์

ประเมินอาจารย์

 อาจารย์มีเพลงมาเปิดให้ก่อนเรียนแต่นักศึกษาไม่ตั้งใจฟังอาจารย์ได้ยกสถานการณ์ขึ้นมาและอาจารย์มีธุระให้ไปดูวีดีโอความลับของแสง





วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4



บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
อังคารเช้า พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.


บทความเรื่อง:การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย 

โดย:มิสวัลลภา ขุมหิรัญ 

    วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์
ตลอดชีวิตของทุกคนต่างก็มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้นการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์จึงมีความสำคัญที่จะทำให้คนได้พัฒนาวิธีคิดทั้งความคิดเป็นเหตุ
เป็นผลคิดสร้างสรรค์คิดวิเคราะห์วิจารณ์มีทักษะที่สำคัญในการค้นคว้าหาความ
รูู้มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบสามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล
หลากหลากและมีประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ช่วยให้
คนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ขึ้นรวมถึงการ
นำความรู้ไปใช้อย่างสร้างสรรค์มีเหตุผลมีคุณธรรมนอกจากนี้ยังช่วยให้คนมีความ
รู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์การดูแลรักษาตลอดจนการพัฒนา
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน 


เป้าหมายสำคัญในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้

1.แสดงความตระหนักรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 

2.ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้อย่างๆด้วยตนเอง


3.แสดงความเข้าใจและรู้จักดูแลรักษาธรรมชาติ 


4.สืบค้นและสนทนาเกี่ยวกับลักษณะและองค์ประกอบของสิ่งต่างๆ 


5.รู้และสามารถใช้สิ่งของที่เป็นเทคโนโลยีอย่างง่ายๆได้อย่างเหมาะสม 


6.เพื่อให้มีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์
  และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ 


การจัดประสบการณ์การเรียนรู้

1.สนับสนุนและส่งเสริมความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก 

2.สนับสนุนและส่งเสริมความต้องการในการตั้งคำถาม 


3.ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้สำรวจตรวจอบจำแนกสิ่งต่างๆ 


4.ส่งเสริมกระบวนการคิด 


5.ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ 


6.ส่งเสริมความสนใจในการดูแลและรับผิดชอบต่อสิ่งต่างๆ 

7.เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความรู้สึกชื่นชมยินดีในธรรมชาติ 


สรุปการเรียน

บทความของเพื่อน

1.สนุกคิดกับของเล่นวิทยาศาสตร์
2.ทำยังไงให้ลูกสนใจวิทยาศาสตร์
3.วิทยาศาสตร์สำคัยอย่างไรต่ออนาคตของชาติ
4.เมื่อลูกน้อยเริ่มรู้วิทยาศาสตร์ผ่านเสียงดนตรี
5.การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

ทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

1.การเปลี่ยนแปลง <Change> 
2.การปรับตัว <Distinction>
3.การปรับตัว <Adpqtation>
4.การพึ่งพาอาศัยกัน <Dependence>
5.ความสมดุล <Equation>

  สิ่งที่อยู่ในโลกนี้จะต้องปรับตัวกันเพื่อความอยู่รอดทั้งหมด5ข้อในโลกนี้จึงมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาอาจจะมีความแตกต่างที่คล้ายคลึงกันและมีการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับตัวให้ทุกอย่างในโลกนี้เกิดความสมดุลและอยู่ร่วมกันอย่างพึ่งพาอาศัยกัน

การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์

1.ขั้นกำหนดปัญหา
2.ขั้นตั้งสมมุติฐาน
3.ขั้นทดลองและการรวบรวมข้อมูล
4.ขั้นสรุป

เจตคติทางวิทยาศาสตร์

1.ความอยากรู้อยากเห็น
2.ความเพียรพยายาม
3.ความมีเหตุผล
4.ความซื่อสัตย์
5.ความมีระเบียบและรอบคอบ
6.ความใจกว้าง

ความสำคัญและประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์

ความสำคัญ

1.เสริมสร้างประสบการณ์
2.พัฒนาทักาะกระบวนการทางวิทยาสาสตร์
3.ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก

ประโยชน์

1.พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน
2.สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
3.พัฒนาทักษะแสวงหาความรู้ทางวิทยาสาสตร์

เทคนิคการสอน

1.การใช้คำถามเพื่อให้เรามีส่วนร่วม <ส่วนร่วมแบบระดมความคิด>
2.การนำเสนอบทความเพื่อนเพื่อนำมาพูดถึง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
  เพื่อนำมาวิเคราะห์

ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถกต้องเรียบร้อย ตั้งใจทำกิจกรรมความ
สัมพันธ์มากเพราะชอบเรียนปฎิบัติมาก

ประเมินเพื่อน

 เพื่อนคุยกันตอนอาจารย์เปิดเพลงทำให้ไม่ค่อยเข้าใจเนื้อหา แต่งช่วงทำกิจกรรมที่ต้องปฎิบัติ
เพื่อนให้ความสนใจมาก

ประเมินอาจารย์  

อาจารย์เตรียมเนื้อหาการสอนมาดีมาก อาจารย์จะใช้วิธีการตั้งคำถามแล้วกระตุ้นให้นักศึกษาสนใจกับเนื้อหาที่้ตรียมมา


บันทึกกาารเรียนครั้งที่ 3

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
อังคารเช้า พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.

อ่านบทความ

กิจกรรมการแยกเมล็ดพืช
วัสดุอุปกรณ์
1.เมล็ดพืช ขนาดของเมล็ดที่แตกต่าง สี
2.ถาดหรือฝาของกระดาษที่แยดเมล็ดพืช
3.ภาชนะสำหรับใส่เมล็ดพืช

กิจกรรม
1.นำเมล็ดพืชทุกชนิดมารวมกัน
2.ให้เด็กๆแยกเมล็ด ขนาด สี ความหยาบของเมล็ด
3.ถามเด็กๆว่าใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแยกประเภท
4.อธิบายเกี่ยวกับเมล็ดพืชว่าชนิดไหนสามารถนำไปปลูกได้ไม่ได้บ้าง

วัตถุประสงค์
1.แยกเมล็ดพืชได้อย่างน้อย 2 ลักษณะ
2.เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความแตกต่างของเมล็ดพืชมีรูปแบบลักษณะสียังไง

ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถกต้องเรียบร้อย ตั้งใจทำกิจกรรมความ
สัมพันธ์มากเพราะชอบเรียนปฎิบัติมาก

ประเมินเพื่อน

 เพื่อนคุยกันตอนอาจารย์เปิดเพลงทำให้ไม่ค่อยเข้าใจเนื้อหา แต่งช่วงทำกิจกรรมที่ต้องปฎิบัติ
เพื่อนให้ความสนใจมาก

ประเมินอาจารย์  



อาจารย์เตรียมเนื้อหาการสอนมาดีมาก อาจารย์จะใช้วิธีการตั้งคำถามแล้วกระตุ้นให้นักศึกษาสนใจกับเนื้อหาที่้ตรียมมา


บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
อังคารเช้า พ.ศ. 2557
เวลาเรียน 08.30 น. ถึง 12.20 น.

อาจาร์ยยกตัวอย่างเด็กปฐมวัยทำการทดลองวิทยาศาสตร์ที่เกิด
         ขึ้นในชีวิตประจำวันทั้งหมด 4 รูปภาพเพื่อทดลองหาประสบการณ์
         ให้แก่เด็กปฐมวัย
            
       วิทยาศาสตร์คือความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับ
         สิ่งรอบตัวและตัวตนของตัวเอง

         วิทยาศาสตร์ต้องอาศัยเครื่องมือในการเรียนรู้ 2 ประเภท
             
             1.คณิตศาสตร์
             2.ภาษา < จะเป็นเครื่องมือที่จะเรียนรู้ในเรื่องต่างๆ >
             
         เด็กปฐมวัย Vs การเรียนรู้วิทยาสาสตร์

           1.วิทยาศาสตร์เป็นยาขมสำหรับเด้กหรือไม่?
             ตอบ ไม่เป็นเพราะวิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
             สามมารถค้นคว้าและทดลองได้
     
           2.ควรจะให้เด็กๆอนุบาลเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร?
             ตอบ ลองทดลองหาประสบการณ์และจะเป็นประสบการณ์ที่
             เด็กจดจำได้